RTM (Read the Market)

RTM เป็นระบบเทรด Forex ที่ได้รับความนิยมจากทั่วโลก ปัจจุบันมีหลายท่านใช้ในการเทรดฟอเร็กซ์หุ้น และคริปโตเช่นกัน

สร้างระบบเทรด RTM

RTM หรือ Read the Market เป็นระบบเทรดหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ และใช้งานในการเทรด โดยเฉพาะเทรดฟอเร็กซ์ (Forex) สำหรับเนื้องหาของ RTM จะเกี่ยวข้องกับ Supply Demand เป็นหลัก โดยใช้การวิเคราะห์ทางเทคนิค ซึ่งเริ่มถูกนำมาใช้ในไทยมากขึ้น เพจดังที่สอนฟรี “กัปตันเทรดดิ้ง” มีเนื้อหาทั้งหมด ดังนี้

  1. การอ่านราคา (Price Reading)
  2. การวิเคราะห์ด้วยเทคนิค (Technical Analysis)
  3. แนวรับแนวต้าน (What do support & Resistance look like?) Support and Resistance Breakout

RTM จะแบ่งเป็น 3 ส่วน

Past, Approach, Reaction

  • Supply and Demand
  • Support and Resistance
  • PAZ
  • Price Action Zones
  • Caps on Price
  • RBD /DBR
  • Flag Limits
  • Fail to Return (FTR)
  • Compression
  • 3 Drive(s)
  • Engulf
  • Quasimodo
  • Diamond
  • The CanCan
เลือกอ่านเนื้อหาที่ต้องการได้
    Add a header to begin generating the table of contents

    บทที่ 1 Supply and Demand Zone

    Supply และ Demand คือ จุดที่มีความต้องการในการซื้อขายของฝั่งผู้ซื้อและผู้ขาย
    – Supply Zone หมายถึง ที่มีความต้องการขาย (Sell) ที่สูง ซึ่งเป็นจุดที่แท่งเทียนมีแนวโน้มเป็นขาลงที่แข็งแกร่ง
    – Demand Zone หมายถึง โซนที่มีความต้องการซื้อ (Buy) ที่สูงซึ่งเป็นจุดที่แท่งเทียนมีแนวโน้มเป็นขาขึ้นที่แข็งแกร่ง

    รูปแบบของ Supply และ Demand

    ซัพพลายและดีมาน เป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการเทรด หากยังไม่เข้าใจอาจจะทำให้การเทรดไม่เป็นระบบ นักเทรดส่วนใหญ่ใช้สร้างระบบเทรด เป็นรุปแบบขั้นพื้นฐานที่ง่าย ซึ่งเป็นโซนที่มีการสะสมความต้องการในช่วงเวลานั้น ระบบเทรดแบบ RTM จะมีรูปแบบ RBD DBR และ RBR DBD

    จากภาพ จะประกอบไปด้วย R – Rally (วิ่ง), B – Base (ฐานพักตัว), D – Drop (พุ่ง)

     

    รูปแบบแพทเทิร์นกลับตัวของ S&D
    – Drop-Base-Rally (DBR) เรียกว่า bullish reversal pattern
    – Rally-Base-Drop (RBD) เรียกว่า bearish reversal pattern

    รูปแบบแพทเทิร์นไปต่อของ S&D
    – Drop-Base-Drop (DBD) เรียกว่า bearish continuation pattern
    – Rally-Base-Rally (RBR) เรียกว่า bullish continuation pattern

    ตัวอย่างของ Supply Zone และ Demand Zone

     

    บทที่ 2 Support and Resistance (แนวรับและแนวต้าน)

    แนวรับแนวต้านจะเกิดขึ้นหลังจากมีการขึ้นหรือลงของกราฟไปทดสอบหลายครั้ง อาจเป็นโซนที่มีคำสั่งซื้อขายค่อยๆลดจำนวนไปในแต่ละรอบ หรือมีออเดอร์ในทิศทางตรงกันข้ามจำนวนมากจนไม่สามารถข้ามผ่านไปได้ หากออเดอร์โซนนั้นหมดไปก็จะสัมพันธ์กับหลัก Supply Demand

    ข้อสังเกตุ Supply Zone จะมีจุด Supply มากกว่า Damand, Demand Zone จะมี Demand มากกว่า Supply

     

    บทที่ 3 PAZ (Price Action Zone)

    PAZ คือ โซนราคาที่เกิด Price Action เช่น Poles, Flags, Stacked Supply/Demand and Compression ซึ่งยิ่งทดสอบแล้วไม่ผ่าน หรือเรียกว่าเกิด FTR (Failure To Return)

    FTR 8 gets engulfed, price has now gotten into PAZ 1. Price retraces then goes to FTR 7
    FTR 7 gets engulfed, price has now gotten into PAZ 2. Price retraces then goes to FTR 6
    FTR 6 gets engulfed, price has now gotten into PAZ 3. Price retraces then goes to FTR 5
    FTR 5 eventually gets engulfed and gets into PAZ 4 and follows through to engulf FTR 4 and FTR 3 and gets into PAZ 6. Price retraces before going to FTR 2
    FTR 2 gets engulfed (see insert 2). Price retraces then goes to FTR 1

    บทที่ 4 Caps on Price – RBD/DBR

    การที่ราคาพุ่งขึ้นอย่างแข็งแรงแล้วพักตัว จากนั้นก็มีการทำกำไรโดยสถาบันใหญ่ๆ เพื่อพลิกราคา ทำให้ราคาถอยลงไปในจุดเดิม ซึ่งจะได้ 2 รูปแบบคือ RBD และ DBR

    บทที่ 5 Flag Limits – DBD/RBR

    Flag Limit จะทำรูปแบบ DBD และ RBR ราคาจะใช้เวลาพักตัวมากกว่า ซึ่งจะต้องรอให้ราคาทะลุและมีการทดสอบการพักอีกครั้ง จะสร้างตัวในรูปแบบธง กลายเป็นการเกิดโซนใหม่ แสดงถึงการสิ้นสุดของโมเมนตัมในขาขึ้นและขาลงอย่างชัดเจน โดยเกิดขึ้นจากการ Ifmyante โพสต์ภาพของ BEFL เป้นภาพการสิ้นสุดโมเมนตัม แต่ยังไม่มีชื่อเรียก จึงมีการตั้งชื่อว่า Flag Limits

    บทความน่าสนใจ

    Scroll to Top